เมื่อบ้านไม่ใช่เซฟโซนที่ดี

Share

​ใครๆ ก็พูดว่าบ้านหรือครอบครัวเป็นพื้นที่ปลอดภัยทางจิตใจ แต่คำกล่าวนี้อาจจะไม่จริงเสมอไปสำหรับใครบางคน ที่เผชิญกับปัญหาความรุนแรงในครอบครัวมาอย่างยาวนานจนเกิดเป็นปมภายในจิตใจ โดยเฉพาะในวัยเด็กซึ่งอาจส่งผลกระทบต่อจิตใจ อารมณ์และความรู้สึก สำคัญที่สุดคือนำไปสู่การมีปัญหาสุขภาพจิตได้

ความรุนแรงที่ผู้ใหญ่ตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ สามารถส่งผลกระทบต่อเด็กในหลากหลายด้าน ได้แก่

ทั้งนี้ ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับเด็ก ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย เช่น รูปแบบความรุนแรง ระยะเวลา ความรุนแรงของเหตุการณ์ เพศ อายุ และบุคลิกของเด็ก เด็กที่เผชิญกับปัญหาความรุนแรงในครอบครัวจำเป็นต้องได้รับการช่วยเหลือจากผู้ใหญ่ที่ไว้ใจได้ เช่น พ่อแม่ ครู เพื่อน หรือญาติ โดยการสร้างความปลอดภัยให้กับเด็ก, พูดคุยกับเด็กอย่างใจเย็น เข้าใจ และรับฟัง, สำคัญที่สุดคือการให้กำลังใจเด็กเพื่อไม่ให้เด็กรู้สึกโดดเดี่ยว

สามารถนัดหมายล่วงหน้าได้ที่

02-589-1889
Line :  @bmhh
Location & Google Map : ติวานนท์ 39
Website : bangkokmentalhealthhospital.com

บทความที่เกี่ยวข้อง

ธันวาคม 23, 2024
Social Detox  เพื่อชีวิตที่สมดุล

คนทั่วโลกใช้เวลาบนโซเชียลมีเดียเฉลี่ยประมาณ 2-3 ชั่วโมงต่อวัน และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในกลุ่มคนรุ่นใหม่ ซึ่งปฏิเสธไม่ได้ว่า

ธันวาคม 23, 2024
เช็กสัญญาณซึมเศร้าหลังคลอดที่คุณแม่ควรรู้

ภาวะซึมเศร้าหลังคลอดเป็นเรื่องปกติที่พบได้บ่อยในคุณแม่หลังคลอด ประมาณ 1 ใน 7 ของคุณแม่จะประสบกับภาวะนี้ มักเกิดขึ้นภายใน 2 สัปดาห์แรกหลังคลอด

ธันวาคม 23, 2024
เมื่อใจต้องเผชิญกับความสูญเสีย ดูแลใจอย่างไรให้กลับมาแข็งแรง

การสูญเสียบุคคลอันเป็นที่รักเป็นเรื่องที่ทุกคนอาจต้องเผชิญในช่วงเวลาหนึ่งของชีวิต ความรู้สึกเศร้าและอ้างว้างที่เกิดขึ้นสามารถสร้างความท้าทาย

บทความเพิ่มเติม