![](https://bangkokmentalhealthhospital.com/wp-content/uploads/2023/09/understanding-1.jpg)
หากเคยรู้สึกว่าตัวเองมีอารมณ์แปรปรวนเป็นสองขั้วคือ รู้สึกเศร้ามาก และรู้สึกอารมณ์ดี คึกคักมาก จนส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตในด้านการทำงาน ความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง อาจเป็นสัญญาณเตือนโรคอารมณ์สองขั้ว หรือ โรคไบโพลาร์
4 อาการฉุกเฉินที่แนะนำให้พบแพทย์ทันที
- มีความคิดอยากตาย อยากทำร้ายตนเอง
- ก้าวร้าว อยากทำร้ายคนอื่น หรือทำลายข้าวของ
- มีอาการทางจิต เช่น หลงผิด หูแว่ว ประสาทหลอน
- ไม่สามารถควบคุมตัวเองได้
การวินิจฉัยโรคอารมณ์สองขั้ว
สามารถวินิจฉัยได้จากการซักประวัติโดยละเอียด ร่วมกับการตรวจร่างกายและการตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อแยกโรคจากภาวะอื่นที่ทำให้มีอาการคล้ายโรคอารมณ์สองขั้ว
การรักษาโรคอารมณ์สองขั้ว
โรคอารมณ์สองขั้วรักษาด้วยการใช้ยากลุ่มควบคุมอารมณ์ ยาต้านเศร้าและยารักษาอาการทางจิต ตามอาการ ร่วมกับการทำจิตบำบัด พฤติกรรมบำบัดและการปรับการใช้ชีวิตประจำวัน กรณีมีอาการรุนแรงทางจิตหรือมีความคิดอยากตาย หรืออยากทำร้ายตนเองและผู้อื่นควรได้รับการรักษาตัวในโรงพยาบาล
บทความที่เกี่ยวข้อง
![](https://bangkokmentalhealthhospital.com/wp-content/uploads/2025/01/7-Ways-to-Spot-Hidden-Depression2.jpg)
7 วิธีสังเกตอาการซึมเศร้าซ่อนเร้น
อาการซึมเศร้าอาจแฝงตัวอยู่ในพฤติกรรมที่ดูปกติ แต่กลับส่งผลกระทบลึกซึ้งโดยไม่ทันรู้ตัว การเรียนรู้ที่จะสังเกตและเข้าใจสัญญาณ
![](https://bangkokmentalhealthhospital.com/wp-content/uploads/2025/01/Unlock-Your-Potential-Confronting-Impostor-Syndrome2.jpg)
ปลดล็อกศักยภาพ พร้อมเผชิญหน้ากับ Impostor Syndrome
ใครเคยเป็นบ้าง รู้สึกไม่มั่นใจในศักยภาพของตัวเอง ต่อให้คนอื่น ๆ จะชื่นชมเราแค่ไหน ก็มักจะมีคำถามเกิดขึ้นว่า “เราดีจริงๆ
![](https://bangkokmentalhealthhospital.com/wp-content/uploads/2025/01/Teachers-Mental-Health2.jpg)
“สุขภาพจิตของครู”
วันที่ 16 มกราคมของทุกปี เป็นวันครูแห่งชาติ วันที่ทุกคนหันมาระลึกถึงความสำคัญของครูผู้เป็นเสาหลักในการสร้างสรรค์อนาคตของชาติ
Talk to Doctor
Call Us
Line BMHH