“ภาวะหมดไฟ” โรคสุดฮิตของคนวัยทำงาน

Share
ภาวะหมดไฟ โรคสุดฮิตของคนวัยทำงาน

หากรู้สึกเบื่องาน เหนื่อยล้าจากการทำงาน มีอารมณ์ร่วมกับงานน้อยลง ไม่มั่นใจในความสามารถของตนเอง สมาธิลดลง มองความสัมพันธ์ในที่ทำงานไปในทางลบ อารมณ์ไม่ดี มุมมองต่อตนเองแย่ลง จนเกิดผลกระทบต่อการทำงานและความสัมพันธ์กับคนรอบข้าง อาการเหล่านี้อาจเป็นสัญญาณเตือนของBurnout หรือ ภาวะหมดไฟ

ผลกระทบจากภาวะหมดไฟ

การป้องกันการเกิดภาวะหมดไฟสำหรับองค์กร

การป้องกันการเกิดภาวะหมดไฟสำหรับตัวเอง

อย่างไรก็ตามภาวะหมดไฟในการทำงานอาจไม่ร้ายแรง แต่ถ้าปล่อยไว้นานอาจทำให้เป็นโรคซึมเศร้าตามมาได้ หากรู้ตัวหรือคนรอบข้างสังเกตได้

เร็ว ลองปรับเปลี่ยนมุมมองต่อตัวเอง ต่องาน จัดการเวลาในการทำงานและพักผ่อนให้เหมาะสม หรือปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เช่น ออกไปทำกิจกรรมที่ชอบ พบเพื่อนที่สนิทเพื่อพูดคุยและรับแรงสนับสนุนกำลังใจจากคนรอบข้างหรือครอบครัว คุยกับหัวหน้างานในเรื่องที่รู้สึกอึดอัด เพื่อช่วยกันจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น จะช่วยให้อาการบรรเทาลงได้ แต่ถ้าทำตามแล้วความรู้สึกไม่ดีขึ้น ยังมองไม่เห็นคุณค่าในตัวเอง จนเริ่มมีอารมณ์หงุดหงิดที่คุมได้ยาก จัดการปัญหาไม่ได้ แนะนำให้พบจิตแพทย์เพื่อประเมินและทำการรักษาที่เหมาะสม

พญ.อริยาภรณ์ ตั้งชีวินศิริกูล

บทความที่เกี่ยวข้อง

ตุลาคม 16, 2024
ความเจ็บปวดที่มองไม่เห็น

ปัญหาสุขภาพจิตกลายเป็นเรื่องใกล้ตัวมากขึ้นเรื่อยๆ ในสังคมปัจจุบัน แต่สิ่งที่ตามมาพร้อมกับปัญหาเหล่านี้คือ "การตีตรา" (Stigma)

อาการของผู้ป่วยที่ควรมาหาหมอโรคซึมเศร้า
ตุลาคม 11, 2024
เข้าใจอาการและการรักษาโรคซึมเศร้า ก่อนเข้ามาพบแพทย์

เช็กอารมณ์ ความรู้สึก และพฤติกรรม ต้องพบแพทย์รักษาโรคซึมเศร้าหรือไม่ แล้วโรคซึมเศร้าอันตรายหรือไม่ สามารถรักษาหายได้ไหม และมีวิธีรักษาอย่างไรบ้าง

ตุลาคม 10, 2024
โรคซึมเศร้า ภัยเงียบคุกคามสังคม

วันที่ 10 ตุลาคมของทุกปี ถูกกำหนดให้เป็น “วันสุขภาพจิตโลก” (World Mental Health Day) เพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับปัญหาสุขภาพจิต

บทความเพิ่มเติม